ข้อมูลสภาพทั่วไป

ข้อมูลสำรวจ ณ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๒ ตำบลท่าเรือมีประชากรรวมทั้งสิ้น ๖,๐๑๕ คน แยกเป็นชาย ๒,๙๘๒ คน หญิง ๓,๐๓๓ คน ดังนี้
หมู่ที่ ชื่อบ้าน หลังคาเรือน ประชากรรวม ชาย หญิง ชื่อผู้ใหญ่บ้าน
 บ้านท่าเรือ ๓๒๘ ๑,๑๙๓ ๕๘๔ ๖๐๙
 บ้านท่าเรือ ๒๔๒ ๘๘๕ ๔๒๙ ๔๕๖
 บ้านนาซ่อม ๒๓๓ ๘๑๖ ๔๔๗ ๔๒๙
 บ้านนาซ่อม ๒๑๗ ๗๘๕ ๓๘๐ ๔๐๕
 บ้านบะหว้า ๒๐๕ ๖๖๓ ๓๔๑ ๓๒๒
 บ้านสามแยก ๑๐๖ ๑๗๖ ๙๑ ๘๕
 บ้านบะหว้า ๒๐๕ ๖๒๐ ๓๐๖ ๓๑๔
 บ้านท่าเรือ ๓๓๖ ๘๑๗ ๔๐๔ ๔๑๓
รวม ๑,๘๗๒ ๖,๐๑๕ ๒,๙๘๒ ๓,๐๓๓

ความหนาแน่นของประชากรต่อพื้นที่

หมู่ที่ ชื่อบ้าน ชาย หญิง รวม หลังคาเรือน พื้นที (ตร.กม.) ทีชุมชน (ตร.กม.) ความหนาแน่น
(คน/ตร.กม.)
 บ้านท่าเรือ ๕๘๔ ๖๐๙ ๑,๑๙๓ ๓๒๘
 บ้านท่าเรือ ๔๒๙ ๔๕๖ ๘๘๕ ๒๔๒
 บ้านนาซ่อม ๔๔๗ ๔๒๙ ๘๑๖ ๒๓๓
 บ้านนาซ่อม ๓๘๐ ๔๐๕ ๗๘๕ ๒๑๗
 บ้านบะหว้า ๓๔๑ ๓๒๒ ๖๖๓ ๒๐๕
 บ้านสามแยก ๙๑ ๘๕ ๑๗๖ ๑๐๖
 บ้านบะหว้า ๓๐๖ ๓๑๔ ๖๐๒ ๒๐๕
 บ้านท่าเรือ ๔๐๔ ๔๑๓ ๘๑๗ ๓๓๖
รวม ๒,๙๘๒ ๓,๐๓๓ ๖,๐๑๕ ๑,๘๗๒
หมายเหตุ 1. จำนวนพื้นที่จากข้อมูลภูมิสารสนเทศตำบล
2. ความหนาแน่น = จำนวนประชากร/จำนวนพื้นที่ชุมชน (ตร.กม.)

ช่วงอายุและจำนวนประชากร

ช่วงวัย ช่วงอายุ รวม เพศชาย เพศหญิง
วัยเด็ก ต่ำกว่า ๖ ปี  คน  คน  คน
วัยรุ่น ระหว่าง ๖ – ๑๔ ปี  คน  คน  คน
เยาวชน ระหว่าง ๑๔ – ๑๘ ปี  คน  คน  คน
วัยทำงาน (ช่วงต้น) ระหว่าง ๑๘ – ๔๙ ปี  คน  คน  คน
วัยทำงาน (ช่วงปลาย) ระหว่าง ๔๙ – ๖๐ ปี  คน  คน  คน
ผู้สูงอายุ มากกว่า ๖๐ ปีขึ้นไป  คน  คน  คน
รวมทั้งสิ้น  คน  คน  คน
หมายเหตุ เฉพาะประชากรที่มีสัญชาติไทย

อาณาเขตติดต่อ

ทิศเหนือ  ติดกับ  ตำบลบ้านเสียว อำเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม
ทิศใต้  ติดกับ  ตำบลนาหว้า อำเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม
ทิศตะวันออก  ติดกับ  ตำบลนาหว้า อำเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม
ทิศตะวันตก  ติดกับ  ตำบลบะหว้า อำเภออากาศอำนวย จังหวัดสกลนคร

ลักษณะภูมิประเทศ

ภูมิประเทศส่วนใหญ่ของตำบลท่าเรือเป็นที่ราบลุ่ม มีป่าไม้เต็ง ไม้รัง และป่าละเมาะขึ้นแซมอยู่ทั่วไปคิดเป็นร้อยละ ๒ ของพื้นที่โดยประมาณ พื้นที่บางส่วนเป็นที่สูงมีระดับความสูงของพื้นที่ตั้งแต่ ๑๐-๒๐ เมตรโดยประมาณเรียบไปตามลำน้ำ พื้นที่ด้านทิศตะวันตกของตำบลมีสภาพเป็นดินเค็ม คาดว่าจะมีปริมาณเกลือเจือปนอยู่ในเนื้อดินมากถึงร้อยละ ๕๐ (อาจเป็นแหล่งดินเค็มที่สุดของจังหวัด)

สภาพภูมิอากาศ

ลักษณะภูมิอากาศทั่วไปของตำบลท่าเรือแบ่งออกเป็น ๓ ฤดู ดังนี้

 

 ฤดูร้อน  เริ่มเดือนกุมภาพันธ์-เมษายนของทุกปี มีอากาศร้อนและจะร้อนมากในเดือนเมษายน อุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่ 18-38 องศาเซนเซียส
 ฤดูฝน  เริ่มเดือนพฤษภาคม-กันยายนของทุกปี มีฝนตกชุกในช่วงเดือนกรกฎาคม-สิงหาคม เกิดเหตุอุทกภัยสร้างความเสียหายเป็นบางปี
 ฤดูหนาว  เริ่มเดือนตุลาคม-มกราคมของทุกปี อากาศจะหนาวจัดช่วงเดือนธันวาคม-มกราคม อุณหภูมิเฉลี่ยอยู่ที่ 18-38 องศาเซนเซียส

ลักษณะและความเหมาะสมของดิน

ลักษณะดินเป็นดินร่วน มีดินเหนียวปน พื้นที่ทั่วไปพื้นที่ราบ มีค่าระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางน้อยกว่า ๑๘๐ เมตร ผิวดินมีความลาดเทไปทางทิศเหนือของตำบล ค่าความลาดชันประมาณ ๐-๑ % พื้นที่ส่วนใหญ่มีแหล่งน้ำธรรมชาติกระจายอยู่ทั่วไป ลักษณะโดยรวมจึงเหมาะสมต่อการใช้ที่ดินเพื่อการทำนาปลูกข้าว

ลักษณะอาชีพ

ประชากรส่วนใหญ่ในตำบลท่าเรือร้อยละ ๙๘ ประกอบอาชีพทำเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลัก ส่วนที่เหลือประกอบอาชีพส่วนตัว ค้าขาย และรับจ้างทั่วไป การทำนาปลูกข้าวเป็นเกษตรกรรมหลัก รองลงมาเป็นการปลูกไม้ผล เช่น แตงโม มะม่วง มะเขือเทศ และแคนตาลูป เป็นต้น มีการทำอาชีพเสริมรายได้นอกเหนือจากการทำนา เช่น การทอผ้าไหมและทอผ้าฝ้ายของกลุ่มแม่บ้าน การทำเครื่องดนตรีจากไม้ไผ่ (อาทิเช่น แคน และโหวด เป็นต้น) การทำขนมพองและขนมนางเล็ด และการตัดเย็บเสื้อผ้าด้วยจักรอุตสาหกรรม

ทรัพยากรและการท่องเที่ยว

ตำบลท่าเรือมีความหลากหลายของชาติพันธุ์จึงมีประเพณีและวัฒนธรรมท้องถิ่นของแต่ละชาติพันธุ์ เช่น ชาวภไทลาว ไทแสก เป็นต้น รวมถึงเป็นแหล่งผลิตเครื่องดินตรีที่ทำมาจากไม้ไผ่ซึ่งเป็นสินค้า OTOP ที่มีชื่อเสียงระดับประเทศ เช่น แคน พิณ และโหลด

การเมืองการปกครอง

เทศบาลตำบลท่าเรือ จากเดิมที่เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ซึ่งถูกจัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.. ๒๕๔๐ ตาม พรบ.ระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ตั้งอยู่หมู่ที่ ๑ บ้านท่าเรือ ตำบลท่าเรือ อำเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม ได้ถูกยกฐานะขึ้นเป็นเทศบาลตำบล เมื่อวันที่ ๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๖ มีการเลือกตั้งผู้บริหารและสมาชิกสภาเทศบาลตำบลตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.. ๒๔๙๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ ๑๓ .. ๒๕๕๒ จากประชากรใน ๘ หมู่บ้าน สำหรับการเลือกตั้งต่อไปจะมีผู้บริหารท้องถิ่น (นายกเทศบาลจำนวน ๑ คน และสมาชิกสภาเทศบาลตำบลจาก ๒ เขตเลือกตั้ง เขตละ ๖ คน รวมเป็น ๑๒ คน

ข้อมูลสำรวจ ณ เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๒ ตำบลท่าเรือมีประชากรรวมทั้งสิ้น ๖,๐๑๕ คน แยกเป็นชาย ๒,๙๘๒ คน หญิง ๓,๐๓๓ คน ดังนี้
หมู่ที่ ชื่อบ้าน หลังคาเรือน ประชากรรวม ชาย หญิง ชื่อผู้ใหญ่บ้าน
 บ้านท่าเรือ ๓๒๘ ๑,๑๙๓ ๕๘๔ ๖๐๙
 บ้านท่าเรือ ๒๔๒ ๘๘๕ ๔๒๙ ๔๕๖
 บ้านนาซ่อม ๒๓๓ ๘๑๖ ๔๔๗ ๔๒๙
 บ้านนาซ่อม ๒๑๗ ๗๘๕ ๓๘๐ ๔๐๕
 บ้านบะหว้า ๒๐๕ ๖๖๓ ๓๔๑ ๓๒๒
 บ้านสามแยก ๑๐๖ ๑๗๖ ๙๑ ๘๕
 บ้านบะหว้า ๒๐๕ ๖๒๐ ๓๐๖ ๓๑๔
 บ้านท่าเรือ ๓๓๖ ๘๑๗ ๔๐๔ ๔๑๓
รวม ๑,๘๗๒ ๖,๐๑๕ ๒,๙๘๒ ๓,๐๓๓

ความหนาแน่นของประชากรต่อพื้นที่

หมู่ที่ ชื่อบ้าน ชาย หญิง รวม หลังคาเรือน พื้นที (ตร.กม.) ทีชุมชน (ตร.กม.) ความหนาแน่น
(คน/ตร.กม.)
 บ้านท่าเรือ ๕๘๔ ๖๐๙ ๑,๑๙๓ ๓๒๘
 บ้านท่าเรือ ๔๒๙ ๔๕๖ ๘๘๕ ๒๔๒
 บ้านนาซ่อม ๔๔๗ ๔๒๙ ๘๑๖ ๒๓๓
 บ้านนาซ่อม ๓๘๐ ๔๐๕ ๗๘๕ ๒๑๗
 บ้านบะหว้า ๓๔๑ ๓๒๒ ๖๖๓ ๒๐๕
 บ้านสามแยก ๙๑ ๘๕ ๑๗๖ ๑๐๖
 บ้านบะหว้า ๓๐๖ ๓๑๔ ๖๐๒ ๒๐๕
 บ้านท่าเรือ ๔๐๔ ๔๑๓ ๘๑๗ ๓๓๖
รวม ๒,๙๘๒ ๓,๐๓๓ ๖,๐๑๕ ๑,๘๗๒
หมายเหตุ 1. จำนวนพื้นที่จากข้อมูลภูมิสารสนเทศตำบล
2. ความหนาแน่น = จำนวนประชากร/จำนวนพื้นที่ชุมชน (ตร.กม.)

ช่วงอายุและจำนวนประชากร

ช่วงวัย ช่วงอายุ รวม เพศชาย เพศหญิง
วัยเด็ก ต่ำกว่า ๖ ปี  คน  คน  คน
วัยรุ่น ระหว่าง ๖ – ๑๔ ปี  คน  คน  คน
เยาวชน ระหว่าง ๑๔ – ๑๘ ปี  คน  คน  คน
วัยทำงาน (ช่วงต้น) ระหว่าง ๑๘ – ๔๙ ปี  คน  คน  คน
วัยทำงาน (ช่วงปลาย) ระหว่าง ๔๙ – ๖๐ ปี  คน  คน  คน
ผู้สูงอายุ มากกว่า ๖๐ ปีขึ้นไป  คน  คน  คน
รวมทั้งสิ้น  คน

ข้อมูลการคมนาคมและการขนส่ง

สามารถใช้เส้นทางสายบ้านท่าเรือบ้านนาซ่อมบ้านตาล ซึ่งเป็นถนนลาดยางระยะทางประมาณ ๖ กิโลเมตรเป็นเส้นทางติดต่อระหว่างตำบลท่าเรือกับอำเภอนาหว้า จังหวัดนครพนม สำหรับเส้นทางสัญจรเชื่อมต่อระหว่างหมู่บ้านส่วนใหญ่ยังเป็นถนนลูกรัง โดยอยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบทและกรมโยธาธิการและผังเมือง

ข้อมูลสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน

ถนนและเส้นทางสัญจร ร้อยละ ๗๐ ของถนนและเส้นทางสัญจรในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลนาหว้าเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ที่เหลืออีกร้อยละ ๓๐ เป็นถนนลูกรังและถนนดินบดอัด ดังนี้
ประเภท จำนวน
 ถนนลาดยาง ๑ สาย
 ถนนลูกรังและถนนดิน  สาย
 ถนนคอนกรีต  สาย
 สะพานคอนกรีต  สาย

 

ไฟฟ้าและแสงสว่าง มีการขยายเขตติดตั้งระบบจำหน่ายกระแสไฟฟ้าเข้าถึงได้ครบทุกหมู่บ้านแต่ไม่ครบทุกครัวเรือน มีการติดตั้งระบบไฟส่องสว่างตามพื้นที่จุดเสี่ยงต่างๆในชุมชน เพื่อให้แสงสว่างและเพิ่มความปลอดภัยในการสัญจร
ระบบน้ำเพื่อการอุปโภคบริโภค มีระบบประปาหมู่บ้านจำนวน ๑ แห่ง สำหรับใช้อุปโภคและบริโภคของประชาชน
ระบบสื่อสารสาธารณะ ประชากรส่วนใหญ่ในพื้นที่นิยมใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในการติดต่อประสานงานกับบุคคลหรือหน่วยงานต่างๆ
การไปรษณีย์ มีที่ทำการไปรษณีย์เพื่อการสื่อสารหรือการส่งพัสดุภัณฑ์ ตั้งอยู่ที่อำเภอนาหว้า ห่างออกไป ๖ กม.โดยประมาณ
การสาธารณสุข มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเรือ จำนวน ๑ แห่ง และโรงพยาบาลประจำอำเภอนาหว้าห่างออกไป ๕ กม.โดยประมาณ

ข้อมูลแหล่งน้ำเพื่อการเกษตรกรรม

แหล่งน้ำผิวดินตามธรรมชาติ ประกอบด้วย

  • ลำน้ำและลำห้วย รวม ๖ สาย
  • บึงและหนองน้ำ   รวม ๒๒ สาย

แหล่งน้ำผิวดินที่ขุดสร้างขึ้น ประกอบด้วย

  • ฝาย           รวม     ๒ แห่ง
  • ทำนบ        รวม      – แห่ง
  • บ่อน้ำตื้น    รวม  ๑๖ แห่ง
  • บ่อโยก       รวม     ๖ แห่ง
  • ถังเก็บน้ำ    รวม  ๒๙ แห่ง

การศึกษา

ระดับ ชื่อสถานศึกษา นักเรียน หมายเหตุ
 มัธยมศึกษา  – – คน
 ประถมศึกษา  โรงเรียนราษฎร์สามัคคี ๕๔๖ คน  (ขยายโอกาสมัธยมศึกษาปีที่ 1-3)
 ก่อนวัยเรียน  เทศบาลตำบลท่าเรือ ๕๓ คน
 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดโอภาสวิทยาราม ๒๓ คน
 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปู่ตานาซ่อม ๔๑ คน

 

ศาสนา

ศาสนา ประเภท ชื่อศาสนสถาน จำนวนอาสนะสงฆ์ สามเณร หมายเหตุ
พุทธ วัด  วัดศรีโพธิ์ชัย  รูป  ตั้งอยู่ที่หมู่ ๑ บ้านท่าเรือ
 วัดทุ่งสว่าง  รูป  ตั้งอยู่ที่หมู่ ๓ บ้านนาซ่อม
 วัดป่าแสงทอง  รูป  ตั้งอยู่ที่หมู่ ๖ บ้านสามแยก
 วัดโอภาสวิทยาราม  รูป  ตั้งอยู่ที่หมู่ ๗ บ้านบะหว้า
สำนักสงฆ์  สำนักสงฆ์วัดป่ามุทิตาธรรม  รูป  ตั้งอยู่ที่หมู่ ๘ บ้านท่าเรือ
รวมทั้งสิ้น  รูป

 

วัฒนธรรม ประเพณี

ประชากรในตำบลท่าเรือเชื้อสายเดิมเป็น “ไทแสก” และ “ไทลาว” จึงมีวัฒนธรรมและประเพณีที่ถือปฏิบัติกันมา เช่น งานบุญประเพณีสู่ขวัญข้าวใส่ฝุ่นนากับกองบุญขี้ควาย งานบุญประเพณีวันสงกรานต์ ตลอดจนงานประเพณีสืบสานตำนานแคนโลกที่ริเริ่มขึ้นใหม่

ภาษาถิ่นและภูมิปัญญาท้องถิ่น

ภาษาถิ่น นอกจากภาษาอีสานที่ใช้กันทั่วไปสำหรับ “ไทลาว” แล้วยังมีภาษา “ไทแสก” ของชนดั้งเดิมที่เป็นไทแสกซึ่งยังใช้กันอยู่เพื่อเป็นการรักษาไว้ซึ่งรากเหง้าของชาติพันธ์
ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการสืบสานและอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมนี้ไว้สู่รุ่นต่อๆไป สำหรับการทำเครื่องดนตรี เช่น พิณ หรือเครื่องดนตรีจากไม้ไผ่ เช่น แคน และโหวด ตลอดจนการทอผ้าไหมและผ้าฝ้าย

ข้อมูลการเกษตร

ประชากรในตำบลท่าเรือร้อยละ ๙๘ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ การทำนา ทำไร่ และปศุสัตว์ รวมถึงทำหัตถกรรมเป็นรายได้เสริมนอกจากการทำนาและสร้างชื่อเสียงให้กับตำบลได้เป็นอย่างดี ประกอบด้วย

  • การทอผ้าไหมของกลุ่มแม่บ้าน หมู่ที่ ๑,๒,๘
  • การทำเครื่องดนตรีจากไม้ไผ่ (เช่น แคน พิณ โหวด) หมู่ที่ ๑,๒,๘
  • กลุ่มทอผ้าฝ้าย หมู่ที่ ๑-๘
  • กลุ่มอาชีพการเลี้ยงโค กระบือ หมู่ที่ ๑-๘
  • กลุ่มอาชีพตัดเย็บเสื้อผ้าด้วยจักรอุตสาหกรรม หมู่ที่ ๓,๔,๕,๗
  • กลุ่มอาชีพทำขนมพอง ขนมนางเล็ด หมู่ที่ ๕,๗
  • กลุ่มสาธิตการตลาด หมู่ที่ ๕,๗
  • กลุ่มโรงสีข้าวชุมชนบ้านบะหว้า หมู่ที่ ๕,๗

ข้อมูลการพาณิชย์

จำแนกตามประเภทของการยื่นจดทะเบียนพาณิชย์ของผู้ประกอบการได้ ดังนี้
ประเภท รายการ จำนวน 
การให้บริการ  ร้านอาหาร – ร้าน
 โรงแรม – แห่ง
 โรงภาพยนต์ – แห่ง
 สถานีขนส่ง/สถานีรอรับผู้โดยสาร – แห่ง
 สถานีบริการน้ำมัน/ปั๊มหลอด – แห่ง
 ธนาคาร – แห่ง
 โรงงาน – แห่ง
 รีสอร์ท – แห่ง
 โรงสีข้าว (ขนาดเล็ก) – แห่ง
การพาณิชย์  ร้านสะดวกซื้อ – ร้าน
 ร้านค้าทั่วไป – ร้าน
 ร้านอินเตอร์เน็ต/ร้านเกมส์ – ร้าน
 ตลาดสด – แห่ง
 ร้านซ่อมทั่วไป – ร้าน
 อู่ซ่อมรถยนตร์/จักรยานยนต์ – แห่ง
กลุ่มอาชีพ  กลุ่มทอผ้า ๕ กลุ่ม
 กลุ่มทำเครื่องดนตรี ๓ กลุ่ม
 กลุ่มเย็บผ้าด้วยจักรอุตสาหกรรม ๔ กลุ่ม
 กลุ่มทำขนมพอง ขนมนางเล็ด ๒ กลุ่ม
 กลุ่มสาธิตการตลาด ๒ กลุ่ม
 กลุ่มโรงสีข้าว ๒ กลุ่ม
 กลุ่มเลี้ยงสัตว์ ๑ กลุ่ม

ข้อมูลสินค้าเกษตร

สินค้าที่เป็นผลผลิตทางการเกษตรที่ออกสู่ตลาดประกอบด้วย ข้าวเปลือก และผลผลิตจากการเลี้ยงสัตว์
สินค้าที่เป็นผลิตภัณฑ์จากกลุ่มอาชีพประกอบด้วย ผ้าไหม ผ้าทอมือ เครื่องดนตรีจากไม้ไผ่ และขนมพอง/ขนมนางเล็ด
mungmee

Share: